วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล    หลักการคือเมื่อทำฐานทั้งสองข้างได้เท่ากันแล้ว จะได้ว่าเลขชี้กำลังของทั้งสองข้างต้องเท่ากันด้วยตัวอย่างการแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียลโดยการทำฐานให้เท่ากันอ่านเพิ่มเต็ม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์

ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์    คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูปy = |x - a| + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริงฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
กราฟของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ จะมีลักษณะเป็นเส้นตรงสองเส้นมาเจอกันที่จุดหักมุม
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์อ่านเพิ่มเต็ม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

ฟังก์ชันกำลังสอง



 ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป   y = ax2 + bx + c เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ a  0 ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ a , b  และ   และเมื่อค่าของ   เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำอ่านเพิ่มเต็ม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันกำลังสอง

ฟังก์ชันเชิงเส้น

ฟังก์ชันเชิงเส้น
 ฟังก์ชันที่เป็น ฟังก์ชันเชิงเส้น มักหมายถึง คณิตศาสตร์ ที่เป็น การสายเส้นตรง ระหว่างสองกลุ่มเวกเตอร์
ตัวอย่าง ถ้า  และ  คือ เวกเตอร์ตัวประสาน ฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นบรรดาฟังก์ชันอ่านเพิ่มเต็ม




ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันเชิงเส้น

ค่าบูรณ์ของจำนวนจริง

   ค่าบูรณ์ของจำนวนจริง  ยามได้ดังนี้: สำหรับจำนวนจริงใดๆ aค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a| เท่ากับ a ถ้า a ≥ 0 และเท่ากับ −a ถ้า a < 0 (ดูเพิ่มเติม: อสมการ) |a| จะไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| < 0 อ่านเพิ่มเต็ม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ค่าบูรณ์ของจำนวนจริง

การไม่เท่ากัน

การไม่เท่ากัน   การเท่ากันของจำนวนจริงการเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การไม่เท่ากัน





จำนานจริง

จำนานจริง
จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่า ระบบจำนวนจริง จะประกอบไปด้วย
1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่อ่านเพิ่มเต็ม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จำนวนจริง